อย่าอุ้มบ่อย !! เดี่ยวลูกติดมือ จริงหรือมั่ว ?

Last updated: 16 มิ.ย. 2565  | 

โบราณว่าถ้าอุ้มเด็กมากไปจะทำให้เด็กติดมือ ไม่ยอมทำอะไรเอง...

แต่ตามหลักพัฒนาการเด็กสมัยใหม่พบว่า  ถ้าตอบสนองเด็กให้ตรงกับความต้องการพื้นฐาน อุ้มบ่อยๆ สัมผัส เล่น คุยด้วยบ่อยๆ จะยิ่งทำให้ทารกเรียนรู้ และมีพัฒนาการเร็ว รวมทั้งเป็นการสร้างความผูกพันไว้วางใจในพ่อแม่อีกด้วยนะคะ

เมื่อลูกความสุขและความมั่น ใจในตัวพ่อแม่แล้ว เด็กก็อยากเล่นแล้วค่อยๆแยก จากพ่อแม่ เพื่อสำรวจสิ่งแวดล้อมได้มา กขึ้นเมื่ออายุ 8 - 12 เดือน ลูกจะเริ่มคลานออกไปเล่นห่า งจากพ่อแม่ได้ และเมื่อมีคนแปลกหน้าเข้ามา ใกล้ๆ หรือมีสิ่งที่ทำให้ไม่แน่ใจ ในสถานการณ์รอบข้าง ลูกจะรีบคลานกลับมาหาพ่อแม่ ทันทีและเมื่ออายุ 1 ปีลูกเดินได้ ก็จะเริ่มห่างออกจากพ่อแม่ด ้วยความมั่นใจ

 

ทำไมลูกถึงติดมือ หรือติดพ่อแม่
1. ช่วงพัฒนาการปกติใน 1 ปีแรก
2. เด็กไม่เชื่อมั่นในตัวพ่อแม ่กลัวว่าจะหายไปโดยเฉพาะเวล าที่คนแปลกหน้าเข้ามาใกล้ๆใ นช่วง 8 เดือนถึง 2 ปี
3. พ่อแม่ช่วยเหลือลูกมากทุกอย ่างทำให้ลูกรักสบายไม่ช่วยเ หลือตัวเองต้องพึ่งพาพ่อแม่ ตลอดเวลา
4. การเลี้ยงดูที่มีการแสดงออก ถึงความรักและความเอาใจใส่ท ี่ไม่สม่ำเสมอหรือไม่ชัดเจน ทำให้เด็กสับสนและไม่ไว้วาง ใจ

แต่ !! ถ้าสังเกตุแล้วลูกติดเรามาก เกินไป จนงอแงร้องไห้เอาแต่ใจ

มีวิธีการแก้ไขดังนี้ค่ะ
1. เข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละ วัยและตอบสนองให้ตรงกับความ ต้องการพื้นฐานแต่ไม่ใช่ยอม ให้เด็กทำอะไรก็ได้ตามใจตนเ อง
2. ฝึกให้เด็กช่วยตัวเองให้มาก ที่สุดตั้งแต่เล็กเช่นไห้ถื อขวดนมเองให้หยิบจับค้าของเ ล่นด้วยตัวเองให้เด็กไปหยิบ ของเล่นเองเป็นต้น
3. ให้ความใกล้ชิดสม่ำเสมอและอ ยู่ใกล้ลูกเมื่อลูกต้องการพ ่อแม่ทุกครั้งโดยเฉพาะในช่ว งเวลาที่เด็กกลัวหรือไม่แน่ ใจ
4. สร้างบรรยากาศในบ้านให้ร่มร ื่นสงบสนุกสนานรถบรรยากาศเส ียงดังที่ทำให้เด็กตกใจบ่อย ๆ

พักสายตา ฟังบทความนี้แบบ Audiobook คลิกเลยค่ะ

 

 


ที่มา : คู่มือสำหรับพ่อแม่ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอน วัยเด็กเล็ก 0-3 ปี

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้